Page 105 - คู่มือ ป.2
P. 105
๑๐๔
ี
ู
ี
้
่
่
หนวยการเรยนรท ๕
้
ี
ั
ี
่
้
คำพองและคำทมความหมายใกลเคยงกน
ี
คำพ้อง คือ คำที่มีการเขียนหรืออ่านออกเสียงเหมือนกันแบ่งเป็น
ิ
ี
ื
ู
้
๒ ชนด คอ คำพองรปและคำพองเสยง
้
๑. คำพ้องรูป คือ คำที่เขียนเหมือนกัน แต่มีการสะกดและ
การออกเสียงต่างกันและมีความหมายต่างกัน ในการอ่านจึงต้องระวัง
การอ่านคำพ้องรูปให้ถูกต้องและสื่อความหมายได้ตรงตามเจตนา
ของสารต้องอาศัยบริบท คำพ้องรูป มี ๓ ลักษณะ คือ เขียนเหมือนกัน
ออกเสยงตางกนความหมายตางกน
ั
ั
่
่
ี
เช่น คำว่า เพลา อ่านว่า เพ-ลา หมายถึง เวลา กับคำว่า เพลา อ่านว่า
ํ
ั
้
้
ั
ุ
้
เพลา หมายถง แกนสาหรบใหลอหรอใบจกรหมน เป็นตน
ึ
ื
๒. คำพ้องเสียง คือ คำที่อ่านออกเสียงเหมือนกันเเต่เขียนต่างกัน
คำพ้องเสียงบางคำเป็นคำไทยเเท้ และบางคำมาจากภาษาอื่น เช่น
ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต เช่น คำว่า รด อ่านว่า รด หมายถึง เท ราด
สาดน้ำลงไปให้เปียกชุ่ม กับคำว่า รถ อ่านว่า รด หมายถึง ยานพาหนะ
่
ั
ี
้
่
ทมลอสำหรบเคลอนไป
ี
ื
คำที่มีความหมายใกล้เคียงกัน คือ คำที่เขียนไม่เหมือนกันแต่มี
ความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันจะแตกต่างกันตรงการใช้ โดยจะ
ยึดความหมายในประโยครวม หรือ ประธานเป็นหลัก เช่น คำว่า หลบซ่อน
้
่
้
ทงคำวา หลบและซอน หมายถง หลก แอบ เลยงไมใหพบ เป็นตน
ี
่
ึ
่
ี
้
ั
่