Page 4 - คู่มือ ป.2
P. 4
๓
่
ี
ทมาและความสำคัญ
การอ่านออกเขียนได้ของประชาชนนับเป็นคุณสมบัติประการหนึ่งที่สำคัญ
ั
่
่
ตอการพฒนาสงคมและประเทศ องคการยเนสโกไดพยายามสงเสรมการอานออก
้
่
ั
์
ิ
ู
เขียนได้เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้คนทั่วโลกมาโดยตลอดนับตั้งแต่ปี ค.ศ.
๑๙๔๖ เป็นต้นมา (https://en.unesco.org/themes/literacy) ด้วย
สายพระเนตร อันยาวไกล พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็น
ั
์
ิ
ั
ี
ั
ิ
ความสำคญ ของพสกนกรของพระองค ทรงมพระราชดำรใหมหาวทยาลยราชภฏ
้
ิ
ุ
ิ
ิ
ั
ี
ื
ั
่
ทวประเทศ ตระหนกในภารกจสำคญ คอ การยกระดบคณภาพชวตของประชาชน
ั
ั
และท้องถิ่นในพื้นที่รับผิดชอบ โดยหนึ่งในประเด็นสำคัญที่พระองค์ทรงห่วงใยคือ
การส่งเสริม ทักษะการอ่าน เขียน การคิด และคุณธรรมของนักเรียนและเยาวชน
ั
ซงจะเตบโตเปนกำลงของสงคมและประเทศชาตตอไป
ิ
็
่
่
ึ
ั
ิ
ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายน้อมรับ
พระราชดำริดังกล่าว และมอบหมายให้คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย รับผิดชอบดำเนินงานพัฒนาโครงการส่งเสริมทักษะการอ่าน เขียน
การคิด และคุณธรรมของในพื้นที่ความรับผิดชอบดูแลของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย ได้แก่ จังหวัดเชียงรายและจังหวัดพะเยา นำมาสู่โครงการพัฒนา
สื่อ การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่าน-เขียนภาษาไทยให้แก่นักเรียนในพื้นที่
ู
้
ิ
่
ึ
รบผดชอบ คณะทำงานจงลงพนทสำรวจขอมลความตองการของโรงเรยน รวมกบ
ั
ั
ี
่
้
ี
ื
้
จัดประชุมคณะครูและผู้บริหารโรงเรียนเพื่อสำรวจปัญหาการเรียนรู้ภาษาไทย
ของนักเรียนในพื้นที่ และวิเคราะห์ประเด็นปัญหาการอ่าน-เขียนภาษาไทยของ
นักเรียน จากนั้นประชุมศึกษาวิเคราะห์ ก่อนจะสรุปผลให้จัดทำสื่อในรูปแบบ
หนังสือส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ ด้านการอ่าน การเขียน และการวิเคราะห์ของ
ึ
ี
ี
นกเรยนประถมศกษาปท ๑ , ๒ และ ๓ พรอมคมอคร ู
ั
ี
ู
ื
่
่
้